แนวทางการตรวจสอบและแก้ปัญหาคอมพิวเตอร์
การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาเครื่องพีซี
การทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นไม่ได้หมายว่าใช้งานเป็นแต่เพียงอย่างเดียวแค่นั้นพอ ในบางครั้งบางคราวที่เครื่องมือมีปัญหาต่างๆ เกิดขึ้น บางปัญหาอาจจะเกิดจากสาเหตุเล็กๆ น้อยๆ ที่ซึ่งบางที่เราอาจนึกไม่ถึง หรือด้วยความที่เราไม่รู้วิธีการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเลย อาจจะทำให้งานของเราล่าช้าหรือต้องเสียเงินค่าซ่อมแซมแพงๆ โดยไม่จำเป็น จึงขอกล่าวถึงวิธีการในการตรวจสอบอาการเสียของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ซึ่งมักจะพบเห็นบ่อยๆ พร้อมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยตัวเอง ตลอดจนถึงการดูแลรักษาเครื่องให้อยู่กับเราไปได้อีกนานๆ
การแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการแก้ไขปัญหาของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
- ปัญหาทางด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นจากตัวอุปกรณ์เองชำรุด หรือทำงานผิดปกติ ซึ่งอาจจะชำรุดมาตั้งแต่โรงงานผู้ผลิตแล้วก็เป็นได้ ดังนั้นจึงต้องมีการรับประกันสินค้าทุกชิ้นตอนซื้อ แต่ในบางครั้งปัญหาเหล่านี้ก็อาจจะเกิดขึ้นจากตัวเราเอง เช่น เสียบอุปกรณ์ผิดหรือปรับแต่งอุปกรณ์ในการทำงานเกินขีดจำกัด เป็นต้น
- ปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์ (Software) คือ ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นจากตัวโปรแกรมเองทำงานผิดปกติ ซึ่งอาจจะเกิดปัญหาได้ทั้งตัวระบบปฏิบัติการ (OS) และโปรแกรมใช้งานทั่วๆ ไป เช่น ตัวโปรแกรมอาจจะไม่สมบูรณ์ , โปรแกรมที่ใช้งานไม่สามารถทำงานได้บนระบบปฏิบัติการที่ใช้อยู่ หรือถูกไวรัสเข้าไปทำลาย
- ปัญหาทางด้านของผู้ใช้งานเอง (Users) คือ ปัญหาที่มักจะเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของผู้ใช้ เช่น การ Overclock CPU และการลองผิดลองถูกต่างๆ
- ปัญหาทางด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นจากตัวอุปกรณ์เองชำรุด หรือทำงานผิดปกติ ซึ่งอาจจะชำรุดมาตั้งแต่โรงงานผู้ผลิตแล้วก็เป็นได้ ดังนั้นจึงต้องมีการรับประกันสินค้าทุกชิ้นตอนซื้อ แต่ในบางครั้งปัญหาเหล่านี้ก็อาจจะเกิดขึ้นจากตัวเราเอง เช่น เสียบอุปกรณ์ผิดหรือปรับแต่งอุปกรณ์ในการทำงานเกินขีดจำกัด เป็นต้น
- ปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์ (Software) คือ ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นจากตัวโปรแกรมเองทำงานผิดปกติ ซึ่งอาจจะเกิดปัญหาได้ทั้งตัวระบบปฏิบัติการ (OS) และโปรแกรมใช้งานทั่วๆ ไป เช่น ตัวโปรแกรมอาจจะไม่สมบูรณ์ , โปรแกรมที่ใช้งานไม่สามารถทำงานได้บนระบบปฏิบัติการที่ใช้อยู่ หรือถูกไวรัสเข้าไปทำลาย
- ปัญหาทางด้านของผู้ใช้งานเอง (Users) คือ ปัญหาที่มักจะเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของผู้ใช้ เช่น การ Overclock CPU และการลองผิดลองถูกต่างๆ
ข้อสังเกตลักษณะและอาการเสียของเครื่องคอมพิวเตอร์
ในกรณีที่เครื่องมีปัญหาขึ้นมานั้น จะมีสิ่งบอกเหตุและข้อสังเกตอยู่หลายประการด้วยกัน ซึ่งทำให้เราสามารถทราบและวิเคราะห์อาการเบื้องต้นได้ ว่ามีปัญหามาจากสาเหตุใด จุดที่ใช้สังเกตอาการเสียของคอมพิวเตอร์หลักๆ มีอยู่ 4 จุด คือ
ในกรณีที่เครื่องมีปัญหาขึ้นมานั้น จะมีสิ่งบอกเหตุและข้อสังเกตอยู่หลายประการด้วยกัน ซึ่งทำให้เราสามารถทราบและวิเคราะห์อาการเบื้องต้นได้ ว่ามีปัญหามาจากสาเหตุใด จุดที่ใช้สังเกตอาการเสียของคอมพิวเตอร์หลักๆ มีอยู่ 4 จุด คือ
จุดที่ 1 เสียงเตือนจากไบออสเมื่อเครื่องมีความผิดปกติหรือเสียง Beep Code
เสียงนี้เป็นเสียงเตือนที่จะได้ยินเมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเครื่องจะทำการทดสอบการทำงานของตัวมันเอง และแจ้งความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทุกครั้งเมื่อเราเปิดเครื่อง กระบวนการนี้เรียกว่า การ POST (Power-On Self Test) ซึ่งเมื่อเครื่องตรวจพบปัญหา หรือไม่พบก็ตามเครื่องจะส่งเสียงแจ้งเตือนให้ทราบ เป็นเสียงสั้นบ้าง ยาวบ้าง โดยเราจะต้องสังเกตและฟังให้ดี สัญญาณเสียงที่เกิดขึ้นเมื่อนามาถอดรหัสแล้วจะทำให้เราทราบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นมาจากสาเหตุใด โดยสัญญาณเสียงที่เกิดขึ้นจะแตกต่างกันออกไปตามแต่ละยี่ห้อไบออสที่อยู่บนเมนบอร์ด ซึ่งมีจุดสังเกตที่ยี่ห้อไบออส และอื่น ๆ
เสียงนี้เป็นเสียงเตือนที่จะได้ยินเมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเครื่องจะทำการทดสอบการทำงานของตัวมันเอง และแจ้งความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทุกครั้งเมื่อเราเปิดเครื่อง กระบวนการนี้เรียกว่า การ POST (Power-On Self Test) ซึ่งเมื่อเครื่องตรวจพบปัญหา หรือไม่พบก็ตามเครื่องจะส่งเสียงแจ้งเตือนให้ทราบ เป็นเสียงสั้นบ้าง ยาวบ้าง โดยเราจะต้องสังเกตและฟังให้ดี สัญญาณเสียงที่เกิดขึ้นเมื่อนามาถอดรหัสแล้วจะทำให้เราทราบว่าปัญหาที่เกิดขึ้นมาจากสาเหตุใด โดยสัญญาณเสียงที่เกิดขึ้นจะแตกต่างกันออกไปตามแต่ละยี่ห้อไบออสที่อยู่บนเมนบอร์ด ซึ่งมีจุดสังเกตที่ยี่ห้อไบออส และอื่น ๆ
จุดที่ 2 ข้อความเตือนที่ปรากฏบนหน้าจอเวลาเปิดเครื่อง หรือ Error Message
ในขั้นตอนของกระบวนการตรวจสอบความผิดปกติของเครื่อง หรือการ POST นั้น นอกจากจะตรวจสอบและแจ้งเตือนความผิดปกติด้วยเสียงแล้ว ในบางปัญหาก็ยังแจ้งเป็นข้อความไปปรากฏบนหน้าจอด้วย (หากยังสามารถแสดงผลบนหน้าจอได้อยู่ ในลักษณะข้อความตัวหนังสือสีขาว พื้นหน้าจอสีน้ำเงิน ) ซึ่งเราเรียกว่า "Error Message" ตัวอย่างข้อความเตือนต่อไปนี้
ในขั้นตอนของกระบวนการตรวจสอบความผิดปกติของเครื่อง หรือการ POST นั้น นอกจากจะตรวจสอบและแจ้งเตือนความผิดปกติด้วยเสียงแล้ว ในบางปัญหาก็ยังแจ้งเป็นข้อความไปปรากฏบนหน้าจอด้วย (หากยังสามารถแสดงผลบนหน้าจอได้อยู่ ในลักษณะข้อความตัวหนังสือสีขาว พื้นหน้าจอสีน้ำเงิน ) ซึ่งเราเรียกว่า "Error Message" ตัวอย่างข้อความเตือนต่อไปนี้
CMOS checksum Error
CMOS BATTERY State Low
HDD Controller Failure
ข้อความต่าง ๆ ที่แจ้งบนหน้าจอเหล่านั้นเราเรียนกันว่า Error Message เราสามารถที่จะจดข้อความนั้นแล้วทำการแปลออกมา เพื่อหาจุดที่ผิดพลาดได้อย่างง่ายดาย ซึ่งข้อความเหล่านั้นหากเกิดขึ้นเราก็ไม่ควรมองข้าม ถึงแม้ว่าเรายังสามารถที่จะเข้าสู่ระบบได้ตามปกติก็ตาม
CMOS BATTERY State Low
HDD Controller Failure
ข้อความต่าง ๆ ที่แจ้งบนหน้าจอเหล่านั้นเราเรียนกันว่า Error Message เราสามารถที่จะจดข้อความนั้นแล้วทำการแปลออกมา เพื่อหาจุดที่ผิดพลาดได้อย่างง่ายดาย ซึ่งข้อความเหล่านั้นหากเกิดขึ้นเราก็ไม่ควรมองข้าม ถึงแม้ว่าเรายังสามารถที่จะเข้าสู่ระบบได้ตามปกติก็ตาม
จุดที่ 3 หลอดไปแสดงสถานะบนเมนบอร์ด
บนเมนบอร์ดบางยี่ห้อจะมีหลอดไปแสดงสถานการณ์ทำงานบนเมนบอร์ด (Diagnostic LED) ติดมาด้วย เพื่อช่วยในการตรวจสอบและแสดงสถานะในตอนเปิดเครื่องว่าเครื่องมีปัญหาหรือไม่ โดยอาจจะแสดงออกมาเป็นรหัสตำแหน่งของหลอดไป LED เขียว / แดง 4-5 ดวง หรือเป็นลักษณะบอกเป็นตัวเลขฐาน 16 ก็ได้
โดยในการถอดรหัสสีหลอดไฟ LED และถอดรหัสตัวเลขฐาน 16 จำเป็นต้องอาศัยดูจากคู่มือเมนบอร์ดที่ให้มา เพื่อดูว่ารหัสเหล่านั้นหมายถึงอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นมาจากสาเหตุใด เพื่อจะได้แก้ไขต่อไป
บนเมนบอร์ดบางยี่ห้อจะมีหลอดไปแสดงสถานการณ์ทำงานบนเมนบอร์ด (Diagnostic LED) ติดมาด้วย เพื่อช่วยในการตรวจสอบและแสดงสถานะในตอนเปิดเครื่องว่าเครื่องมีปัญหาหรือไม่ โดยอาจจะแสดงออกมาเป็นรหัสตำแหน่งของหลอดไป LED เขียว / แดง 4-5 ดวง หรือเป็นลักษณะบอกเป็นตัวเลขฐาน 16 ก็ได้
โดยในการถอดรหัสสีหลอดไฟ LED และถอดรหัสตัวเลขฐาน 16 จำเป็นต้องอาศัยดูจากคู่มือเมนบอร์ดที่ให้มา เพื่อดูว่ารหัสเหล่านั้นหมายถึงอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นมาจากสาเหตุใด เพื่อจะได้แก้ไขต่อไป
จุดที่ 4 หลอดไฟแสดงสถานะที่หน้าเครื่อง
หลักการในการสังเกตความผิดปกติของเครื่องด้วยวิธีนี้ จะเป็นวิธีที่ไม่ได้ครอบคลุมถึงความผิดปกติของเครื่องทั้งหมดเหมือนวิธีก่อนๆ แต่วิธีนี้เป็นการสังเกตขั้นพื้นฐานอย่างง่ายๆ เพียงแค่ดูจากหลอดไป LED หน้าเครื่อง ซึ่งโดยปกติแล้วจะมีอยู่ 2 ดวง ดวงแรกสีเขียวหรือ Power LED ส่วนอีกดวงคือสีแดงหรือส้ม ซึ่งก็คือ H.D.D. LED
หลอดไฟ LED (สีเขียว) หรือ Power LED เป็นหลอดไฟที่ต่อมาจากขั้วต่อบนเมนบอร์ด โดยปกติไฟนี้จะดับอยู่ในขณะที่ไม่ได้เปิด แต่หลังจากเปิดเครื่องแล้วไฟดวงนี้จะติดอยู่ตลอดเวลา เพื่อบอกให้รู้ว่าตอนนี้เครื่องกำลังทำงานอยู่ ดังนั้นถ้าเปิดเครื่องแล้วหลอดไฟดวงนี้ไม่ติดแสดงว่าไฟไม่เข้าเมนบอร์ด
หลอดไฟ LED (สีแดงหรือส้ม) หรือ H.D.D. LED เป็นหลอดไฟที่ต่อมาจากขั้วต่อบนเมนบอร์ดเช่นกัน ไฟนี้จะติดก็ต่อเมื่อฮาร์ดดิสก์ (ซีดีรอม) ทำงาน หรือมีการอ่านเขียนข้อมูลลงบนฮาร์ดดิสก์ แต่ในขณะที่ฮาร์ดดิสก์ไม่ได้ทำงานอยู่ไฟดวงนี้จะดับ หรือถ้าไฟดวงนี้ติดค้างอยู่ตลอดเวลาก็แสดงว่ามีปัญหาในการทำงานของฮาร์ดดิสก์
หลักการในการสังเกตความผิดปกติของเครื่องด้วยวิธีนี้ จะเป็นวิธีที่ไม่ได้ครอบคลุมถึงความผิดปกติของเครื่องทั้งหมดเหมือนวิธีก่อนๆ แต่วิธีนี้เป็นการสังเกตขั้นพื้นฐานอย่างง่ายๆ เพียงแค่ดูจากหลอดไป LED หน้าเครื่อง ซึ่งโดยปกติแล้วจะมีอยู่ 2 ดวง ดวงแรกสีเขียวหรือ Power LED ส่วนอีกดวงคือสีแดงหรือส้ม ซึ่งก็คือ H.D.D. LED
หลอดไฟ LED (สีเขียว) หรือ Power LED เป็นหลอดไฟที่ต่อมาจากขั้วต่อบนเมนบอร์ด โดยปกติไฟนี้จะดับอยู่ในขณะที่ไม่ได้เปิด แต่หลังจากเปิดเครื่องแล้วไฟดวงนี้จะติดอยู่ตลอดเวลา เพื่อบอกให้รู้ว่าตอนนี้เครื่องกำลังทำงานอยู่ ดังนั้นถ้าเปิดเครื่องแล้วหลอดไฟดวงนี้ไม่ติดแสดงว่าไฟไม่เข้าเมนบอร์ด
หลอดไฟ LED (สีแดงหรือส้ม) หรือ H.D.D. LED เป็นหลอดไฟที่ต่อมาจากขั้วต่อบนเมนบอร์ดเช่นกัน ไฟนี้จะติดก็ต่อเมื่อฮาร์ดดิสก์ (ซีดีรอม) ทำงาน หรือมีการอ่านเขียนข้อมูลลงบนฮาร์ดดิสก์ แต่ในขณะที่ฮาร์ดดิสก์ไม่ได้ทำงานอยู่ไฟดวงนี้จะดับ หรือถ้าไฟดวงนี้ติดค้างอยู่ตลอดเวลาก็แสดงว่ามีปัญหาในการทำงานของฮาร์ดดิสก์
ปัญหาทางด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ปัญหาทางด้านฮาร์ดแวร์นั้นเป็นปัญหาสำคัญที่ถือได้ว่าน่าหนักใจที่สุด เพราะปัญหาเหล่านี้โดยส่วนมากเมื่อเกิดขึ้นแล้วหลายครั้งที่จำเป็นต้องเปลี่ยนอุปกรณ์ ซึ่งถ้าอุปกรณ์เหล่านั้นยังอยู่ในระยะประกันก็ไม่น่าหนักใจอะไร แต่ถ้าหมดประกันต้องต้องเสียเงินค้าซ่อมหรือไม่ก็ต้องซื้อใหม่สถานเดียว
ทีนี่เมื่อเกิดปัญหาขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา เราจะมีวิธีการหรือแนวทางในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้อย่างไรบ้าง คำตอบต้องแยกแยะไปตามสถานการณ์ดังนี้
ปัญหาทางด้านฮาร์ดแวร์นั้นเป็นปัญหาสำคัญที่ถือได้ว่าน่าหนักใจที่สุด เพราะปัญหาเหล่านี้โดยส่วนมากเมื่อเกิดขึ้นแล้วหลายครั้งที่จำเป็นต้องเปลี่ยนอุปกรณ์ ซึ่งถ้าอุปกรณ์เหล่านั้นยังอยู่ในระยะประกันก็ไม่น่าหนักใจอะไร แต่ถ้าหมดประกันต้องต้องเสียเงินค้าซ่อมหรือไม่ก็ต้องซื้อใหม่สถานเดียว
ทีนี่เมื่อเกิดปัญหาขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา เราจะมีวิธีการหรือแนวทางในการแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้อย่างไรบ้าง คำตอบต้องแยกแยะไปตามสถานการณ์ดังนี้
แนวทางในการแก้ไข ข้อแนะนำและแนวทางในการปฏิบัติเมื่อเกิดปัญหา
- เมื่อเกิดปัญหาขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา อย่าตื่นตกใจ พยายามในเย็นๆ ค่อยๆ แก้ปัญหา มองจากง่ายไปหายาก
- พยายามวิเคราะห์หาจุดบกพร่องที่เกิดขึ้นว่าน่าจะมาจากสาเหตุใดหรืออุปกรณ์ตัวใดมากที่สุด เช่น ไม่มีภาพมาปรากฏที่หน้าจอและหลอดไฟแสดงผลที่หน้าจอเป็นสีส้ม แสดงว่าจอภาพทำงานแต่ไม่มีสัญญาณภาพส่งมาจากตัวเครื่อง สาเหตุอาจจะมาจากสายสัญญาณไม่ได้ต่อไว้หรือหลวม หรืออาจจะเกิดจากตัวการ์ดจอมีปัญหา เป็นต้น
- ทดลองถอด หรือเปลี่ยนเอาอุปกรณ์ที่แน่ในว่าดีมาใส่แทนอุปกรณ์ที่เราคิดว่าน่าจะเป็นสาเหตุที่ทำให้เครื่องมีปัญหา
- ตรวจเช็คดูว่าอาการที่เกิดขึ้นนั้นหายไปหรือไม่หลังจากทดลองเปลี่ยนอุปกรณ์
- ถ้าอาการที่เกิดขึ้นนั้นหายไป แสดงว่าสาเหตุอาจจะมาจากอุปกรณ์ตัวนั้น หรือถ้าอาการนั้นไม่หาย ก็ให้ทดลองกับอุปกรณ์ตัวอื่นที่เราคิดว่าน่าจะเป็นสาเหตุดูเพื่อตัดตัวแปรที่ไม่ใช่ออกทีละตัว
- เมื่อตรวจพบอุปกรณ์ที่เสียแล้ว ก็ให้ดูก่อนว่ายังอยู่ในระยะประกันหรือไม่ ซึ่ง
- ถ้ายังอยู่ในระยะประกัน ก็ทำการส่งอุปกรณ์ที่เสียนั้นให้ทางร้านที่ซื้อมา หรือตัวแทนให้ดำเนินการเคลมสินค้าให้
- ถ้าหมดระยะเวลาประกันแล้ว ก็อาจจะส่งร้านซ่อมที่เชื่อถือได้หรือซื้อมาเปลี่ยนใหม่
- เมื่อเกิดปัญหาขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา อย่าตื่นตกใจ พยายามในเย็นๆ ค่อยๆ แก้ปัญหา มองจากง่ายไปหายาก
- พยายามวิเคราะห์หาจุดบกพร่องที่เกิดขึ้นว่าน่าจะมาจากสาเหตุใดหรืออุปกรณ์ตัวใดมากที่สุด เช่น ไม่มีภาพมาปรากฏที่หน้าจอและหลอดไฟแสดงผลที่หน้าจอเป็นสีส้ม แสดงว่าจอภาพทำงานแต่ไม่มีสัญญาณภาพส่งมาจากตัวเครื่อง สาเหตุอาจจะมาจากสายสัญญาณไม่ได้ต่อไว้หรือหลวม หรืออาจจะเกิดจากตัวการ์ดจอมีปัญหา เป็นต้น
- ทดลองถอด หรือเปลี่ยนเอาอุปกรณ์ที่แน่ในว่าดีมาใส่แทนอุปกรณ์ที่เราคิดว่าน่าจะเป็นสาเหตุที่ทำให้เครื่องมีปัญหา
- ตรวจเช็คดูว่าอาการที่เกิดขึ้นนั้นหายไปหรือไม่หลังจากทดลองเปลี่ยนอุปกรณ์
- ถ้าอาการที่เกิดขึ้นนั้นหายไป แสดงว่าสาเหตุอาจจะมาจากอุปกรณ์ตัวนั้น หรือถ้าอาการนั้นไม่หาย ก็ให้ทดลองกับอุปกรณ์ตัวอื่นที่เราคิดว่าน่าจะเป็นสาเหตุดูเพื่อตัดตัวแปรที่ไม่ใช่ออกทีละตัว
- เมื่อตรวจพบอุปกรณ์ที่เสียแล้ว ก็ให้ดูก่อนว่ายังอยู่ในระยะประกันหรือไม่ ซึ่ง
- ถ้ายังอยู่ในระยะประกัน ก็ทำการส่งอุปกรณ์ที่เสียนั้นให้ทางร้านที่ซื้อมา หรือตัวแทนให้ดำเนินการเคลมสินค้าให้
- ถ้าหมดระยะเวลาประกันแล้ว ก็อาจจะส่งร้านซ่อมที่เชื่อถือได้หรือซื้อมาเปลี่ยนใหม่
ปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์ (Software) ปัญหาทางด้านของซอฟต์แวร์นั้น ดูจะไม่ใช่ปัญหาที่ใหญ่หลวงอะไรมากนักสำหรับผู้ใช้ทั่วๆ ไป พูดได้ว่าถ้าโปรแกรมที่ใช้งานอยู่วันดีคืนดีเกิดมีปัญหาขึ้นก็แค่ถอดถอนโปรแกรมนั้นออกแล้วค่อยลงโปรแกรมใหม่ก็ได้ แต่ว่าถ้าเป็นโปรแกรมจำพวกระบบปฏิบัติการ หรือวินโดว์เกิดมีปัญหาขึ้นมา แม้ว่าจะไม่ใช่ปัญหาใหญ่อะไรเพราะไม่มีผลเสียต่ออุปกรณ์ฮาร์ดแวร์อยู่แล้ว แต่มันทำให้เราเสียเวลาและเสียอารมณ์นี่สิ
บางครั้งปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์เหล่านี้ ไม่มีสัญญาณเตือนบอกเราก่อน บางทีใช้งานโปรแกรมอยู่ดีๆ เครื่องก็ค้างไปเสียเฉยๆ แล้วงานก็ยังไม่ได้บันทึก บางทีเมื่อวานยังใช้โปรแกรมนี้ได้อยู่พอมาวันนี้เปิดโปรแกรมขึ้นมาไม่ได้ หรือบางทีหนักกว่านั้นถอดถอนโปรแกรมบางตัวออกจากเครื่องแล้ว Restart เครื่องใหม่ แต่อยู่ดีๆ ทำไมบู๊ตเข้าวินโดว์ไม่ได้เฉยเลยก็มี ปัญหาเหล่านี้ถ้าเป็นคนที่ชำนาญหรือเป็นช่างคอมฯ ก็มองว่าเป็นปัญหาเล็กน้อย แก้เดี๋ยวเดียวก็เสร็จ แต่ถ้าเป็นผู้ใช้ที่ยังไม่ชำนาญการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ก็มีวิธีแก้ปัญหาอยู่อย่างเดียว นั่นก็คือ ส่งร้านซ่อม ซึ่งคิดไปแล้วก็เสียดายเงินเพราะบางปัญหานั้นสามารถแก้ไขได้อย่างง่ายๆ ด้วยตัวเราเอง
บางครั้งปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์เหล่านี้ ไม่มีสัญญาณเตือนบอกเราก่อน บางทีใช้งานโปรแกรมอยู่ดีๆ เครื่องก็ค้างไปเสียเฉยๆ แล้วงานก็ยังไม่ได้บันทึก บางทีเมื่อวานยังใช้โปรแกรมนี้ได้อยู่พอมาวันนี้เปิดโปรแกรมขึ้นมาไม่ได้ หรือบางทีหนักกว่านั้นถอดถอนโปรแกรมบางตัวออกจากเครื่องแล้ว Restart เครื่องใหม่ แต่อยู่ดีๆ ทำไมบู๊ตเข้าวินโดว์ไม่ได้เฉยเลยก็มี ปัญหาเหล่านี้ถ้าเป็นคนที่ชำนาญหรือเป็นช่างคอมฯ ก็มองว่าเป็นปัญหาเล็กน้อย แก้เดี๋ยวเดียวก็เสร็จ แต่ถ้าเป็นผู้ใช้ที่ยังไม่ชำนาญการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ก็มีวิธีแก้ปัญหาอยู่อย่างเดียว นั่นก็คือ ส่งร้านซ่อม ซึ่งคิดไปแล้วก็เสียดายเงินเพราะบางปัญหานั้นสามารถแก้ไขได้อย่างง่ายๆ ด้วยตัวเราเอง
กรณีบู๊ตเข้า Windows ไม่ได้
กรณีบู๊ตเข้าวินโดว์ไม่ได้อันเนื่องมาจากปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์นั้น ที่พบมาก็คือ ไฟล์ระบบเสียหรือสูญหาย ซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการสั่งถอดถอนโปรแกรมที่มีการแชร์ไฟล์ร่วมกับไฟล์ที่สำคัญๆ บางตัวในระบบ หรืออาจจะเผลอไปลบเอง รวมถึงการเข้าไปทำการแก้ไขค่าต่างๆ ใน Registry ด้วย ซึ่งปัญหาเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ทำให้บู๊ตเข้าวินโดว์ไม่ได้ทั้งสิ้น
กรณีบู๊ตเข้าวินโดว์ไม่ได้อันเนื่องมาจากปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์นั้น ที่พบมาก็คือ ไฟล์ระบบเสียหรือสูญหาย ซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการสั่งถอดถอนโปรแกรมที่มีการแชร์ไฟล์ร่วมกับไฟล์ที่สำคัญๆ บางตัวในระบบ หรืออาจจะเผลอไปลบเอง รวมถึงการเข้าไปทำการแก้ไขค่าต่างๆ ใน Registry ด้วย ซึ่งปัญหาเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ทำให้บู๊ตเข้าวินโดว์ไม่ได้ทั้งสิ้น
การซ่อมแซม Windows XP แบบไม่ต้องลงวินโดร์ใหม่
ถ้า วินโดวส์มีป้ญหาไม่สามารถบู๊ตขึ้นภาพ Windows XP คุณๆจะมีวิธีของตนเอง เช่น เอาไฟล์ที่ ghost ไว้มาใช้ แต่ก็ปัญหาคือ ไฟล์ที่ได้ไม่ใช่ข้อมูลปัจุบัน หรือ format ลงวินโดวส์ใหม่ชึ่งไม่ใช่เรื่องที่ดีเลยต้องลงโปรแกรมใหม่เป็นสิบตัว ยังต้องเสียเวลา Crack อีก ข้อมูลที่คุณทำไว้ก็หายหมด ผมมีวิธีการกู้แบบง่ายๆ ไปหาวิธีแบบยาก แล้วแต่เหตุการณ์ และสาเหตุ
เทคนิคที่ 1 กู้แบบง่ายๆ -สาเหตุ : ปกติคุณๆ มักชอบติดตั้งโปรแกรมใหม่ๆ เพิ่มเติม ผลปรากฎว่าเมื่อติดตั้งแล้วพอบู๊ตใหม่กลับบู๊ตไม่ขึ้น สาเหตูอาจมาจากโปรแกรมที่ติดใหม่ ติดตั้งไฟล์ระบบตัวเก่าทับตัวใหม่ ทำให้วินโดวส์ไม่รู้จักไฟล์ระบบ เลยทำให้เกิดหน้าจอดำค้างไม่บู๊ตเข้าหน้าจอเดสก์ทอป
-วิธีแก้ไข : อาจจะใช้วิธี System Restore ใน Safe Mode โดยกดปุ่ม F8 ค้างไว้ ขณะบู๊ตเครื่องใหม่ แล้วเลือกไปที่หัวข้อ Safet Mode กู้วันที่ย้อนหลังครั้งล่าสุดที่ไม่ได้ติดตั้งโปรแกรม หรือจะให้สะดวกกว่านี้ก็ให้เลือกหัวข้อ Last Know Good Configuration ก็จะกู้ระบบครั้งล่าสุดให้ทันที ทำให้บู๊ตเข้าวินโดว์ส ได้ตามเดิม
เทคนิคที่ 2 ซ่อมวินโดวส์ ด้วยแผ่นบู๊ต Boot CD Rom
-สาเหตุ : ปัญหานี้ส่วนใหญ่ สืบเนื่องจากการติดตั้ง Patch file ตัวใหม่ๆ แล้วไม่สามารถรองรับไฟล์ระบบของวินโดวส์หรือก็อปปี๊ไฟล์ .dll, .vdx, .inf ผิดเวอร์ชั่น หรือเผลอลบไฟล์ระบบบางตัว ก็เป็นสาเหตุได้ ฉะนั้นหากแก้ด้วยวิธีที 1,2 ไม่หาย ก็ต้องใช้วิธีที่ 3 ซ่อมแซมไฟล์ระบบใหม่ แทนที่จะเสียเวลาติดตั้งใหม่ วิธีนี้ก็จะช่วยย่นเวลาให้น้อยลง
-วิธีแก้ไข : เตรียมแผ่นบู๊ต CD Windows (แผ่นติดตั้งวินโดวส์) ใส่ใน CD-ROM แล้วบู๊ตเครื่องใหม่ จากนั้นทำตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. เมื่อเข้าหน้าจอ Windows to Setup หน้าแรก ให้คุณกด Enter ผ่านขั้นตอนนี้ไป
2. จากนั้นก็จะเข้าหน้าจอ windows XP Lincesing Agreement หน้าที่สอง กดปุ่ม F8 เพื่อยอมรับการติดตั้งใหม่
3. เมื่อเข้าหน้าจอการติดตั้ง Windows XP Pro..Setup เลือกไดรฟ์ที่ติดตั้ง แล้วกดตัว R เพื่อซ่อมแซ่มไฟล์ที่สูญหายให้กลับคืนมาดังเดิม เมือเสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรมต่างๆที่ติดตั้งไปก็ยังคงใช้ได้เหมือนเดิม ไม่ต้องติดตั้งใหม่ให้เสียเวลา
ปล. สำหรับผู้ที่ใช้ Harddisk แบบ SATA ในตอนบู๊ตแผ่นติดตั้ง Windows ให้กด F6 เพื่อติดตั้งไดรว์เวอร์ SATA ก่อนเข้าขั้นตอนที่ 1 ด้วยนะครับ ไม่เช่นนั้นวินโดวส์จะมองไม่เห็น Harddisk
เทคนิคที่ 3 ซ่อมแซม File
เมื่อถึงคราวที่วินโดว์ของคุณเกิดทำงานผิดพลาดบ่อยครั้ง อันเนื่องมาจากไฟล์ของระบบเสียหาย คุณสามารถติดตั้งเฉพาะตัวโปรแกรมวินโดว์ใหม่โดยไม่จำ เป็นต้องฟอร์แมตแล้วลงวินโดว์และติดตั้งโปรแกรมอื่นๆ เข้าไปใหม่ให้เสียเวลานอกจากนี้คุณยังไม่ต้อง มานั่งปรับตั้งค่าการทำงานต่างๆ ใหม่อีกครั้งแต่อย่างใดด้วย
1. เปิดเครื่องบู๊ตเข้าสู่วินโดว์ตามปกติ
2. นำแผ่น Setup CD ของวินโดว์ใส่ลงในไดร์ฟซีดีรอม
3. คลิกปุ่ม Start -> Run
4. พิมพ์คำสั่ง E:i386winnt32 /unattend แล้วคลิกปุ่ม OK
5. โปรแกรมติดตั้งจะเริ่มดำเนินการติดตั้งวินโดว์ให้คุณ ใหม่โดยยังคงรักษาค่าการทำงานต่างๆ เอาไว้เหมือนเดิม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น